söndag 5 oktober 2014

6 ต.ค.19 -6 ต.ค.57 รำลึก 38 ปี 6 ตุลา ..ผ่านไปประเทศไทยและประชาชนไทยก็เหมือนเดิมไม่เคยเปลี่ยนแปลงยังถูกขังอยู่ในบ่วงกงล้อวงจรอุบาทว์ของระบอบอำมาตย์เผด็จการทรราชราชาธิปไตย...



เราจะไม่ลืมกัน - รำลึก 38 ปี 6 ตุลา เริ่มต้นด้วยการอ่าน...อ่าน...อ่าน ติดอาวุธทางปัญญา เพื่อช่วยกันหาทางออกให้ประชาชนไทยและประเทศไทยหลุดพ้นจากวงจรอุบาทว์นี้ให้ได้


ThaiE-News








Dr. Puey's article is also in English krab,
along with B. Anderson and C. Trocki on Aj. Boonsanong:
See and click:
Concerned Asian Scholars: On October 6, 1976....
วารสารเล่มนี้ มีบทความพิเศษ ว่าด้วย 6 ตุลา 2519/1976
เหมาะสำหรับ ผู้ไม่สันทัดภาษาไทย หรือ อยากฝึกอังกฤษ
มีทั้งข้อเขียน ของ Dr. Puey Ungphakorn: Violence and Military Coup
ที่ท่านรอดพ้นเป็น "เหยื่ออธรรม" ไปได้
มีบทความของ B. Anderson: Withdrawal Symptoms
และของ Carl Trocki ว่าด้วย Boonsanong Punyodyana.....
(ดาวโหลดได้ ครับ)
http://criticalasianstudies.org/assets/files/bcas/v09n03.pdf

...
ข้อมูลเพิ่มเติมจาก http://www.2519.net/

ความสำคัญของ ๖ ตุลา กับสถานะทางประวัติศาสตร์
สัมภาษณ์ ไพรัฏฐโชติก์ จันทรขจร (วันที่ 23 กันยายน 2543)
สัมภาษณ์ กฤษฎางค์ นุตจรัส (วันที่ 22 กันยายน 2543)
สัมภาษณ์ กมล สุสำเภา (วันศุกร์ที่ 1 กันยายน 2543)

...
ความรุนแรงและรัฐประหาร 6 ตุลาคม 2519
โดย ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์ความรุนแรงกับกาลเวลา
ปาฐกถาในวาระ 30 ปี 6 ตุลา
โดย ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
6 ตุลาคมรำลึก คอลัมน์ ชั่วๆดีๆ
โดย เสกสรรค์ ประเสริฐกุล6 ตุลา กับการย้ายมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โดย วิภา ดาวมณีหนังสือต้องห้ามหลังเหตุการณ์ 6 ตุลา
ประกาศกระทรวงมหาดไทย
เรื่อง กำหนดชื่อเอกสารและสิ่งพิมพ์ที่ห้ามผู้ใดมีไว้ครอบครอง
อาชญากรรมรัฐในวิกฤตการเปลี่ยนแปลง (มี 4 บท จำนวน 73 หน้า ปีที่พิมพ์ : 2544)
เขียนโดย ใจ อึ้งภากรณ์ สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ และคณะ
ในนามคณะกรรมการรับข้อมูลและสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519..
กรีดแผล กลัดหนอง กรองความจริง (มี 11 บท จำนวน 32 หน้า ปีที่พิมพ์ : 2544)
เขียนและเรียบเรียง โดย ชลธิรา สัตยาวัฒนา
ในนามคณะกรรมการรับข้อมูลและสืบพยานเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519
6 ตุลา กับสถานะทางประวัติศาสตร์การเมือง ( จำนวน 9 หน้า ปีที่พิมพ์ : 2539)
เขียนโดย ชาญวิทย์ เกษตรศิริ6 ตุลา กับภูมิปัญญาสังคมไทย ( จำนวน 7 หน้า ปีที่พิมพ์ : 2539)
เขียน โดย นิธิ เอียวศรีวงศ์ความทรงจำกับประวัติศาสตร์บาดแผล กรณีการปราบปรามนองเลือด 6 ตุลา 2519 (จำนวน 22 หน้า ปีที่พิมพ์ : 2539)
เขียน โดย ธงชัย วินิจจะกูลรอยด่างกับความเงียบ : ข้อสังเกตบางประการว่าด้วยเหตุการณ์ 6 ตุลาคม 2519 (จำนวน 4 หน้า ปีที่พิมพ์ : 2529)
เขียน โดย ชัยวัฒน์ สถาอานันท์10 ปีให้หลังของ 6 ตุลา(จำนวน 10หน้า ปีที่พิมพ์ : 2529)
เขียน โดย วรศักดิ์ มหัทธโนบลบ้านเมืองของเราลงแดง : แง่มุมทางสังคมและวัฒนธรรมของรัฐประหาร 6 ตุลาคม (จำนวน 40 หน้า ปีที่พิมพ์ : 2541)
เขียนโดย เบเนดิก แอนเดอร์สัน
แปลโดย เกษียร เตชะพีระ , ธเนศ อาภรณ์สุวรรณ , ชาญวิทย์ เกษตรศิริ
ชนวน: ภาพละครแขวนคอที่นำไปสู่กรณี 6 ตุลา
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลใครเป็นใครในกรณี 6 ตุลา
ใครเป็นใครในกรณี 6 ตุลาเราสู้: เพลงพระราชนิพนธ์การเมืองกับการเมืองปี 2518-2519
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล6 ตุลา : ย้อนอีกรอย
6 ตุลา : ย้อนอีกรอยอยู่อย่าง 6 ตุลา
เขียนโดย เกษียร เตชะพีระคืนที่ยาวนาน: การไม่ตัดสินใจสลายการชุมนุมในธรรมศาสตร์คืนวันที่ 5 ตุลาคม 2519
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลบทเรียนจากเหตุการณ์ 6 ตุลาซึ่งสังคมไทยไม่ยอมรับรู้
ธงชัย วินิจจะกูลเบื้องหลังเหตุการณ์นองเลือด 6 ตุลาคม (จำนวน 10 หน้า ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์)
ไม่ปรากฏชื่อผู้เขียนเหตุการณ์ 6 ตุลา อยู่ที่ไหนในประวัติศาสตร์(จำนวน6หน้า ปีที่พิมพ์:2539)
เขียน โดย ฤดี เริงชัยใครก่อเหตุการณ์ 6 ตุลา(จำนวน10หน้า ปีที่พิมพ์:2524)
เขียนโดย ศรพรหม วาศสุรางค์ทำไม 6 ตุลาฯ จึงจำยาก ?(จำนวน 20 หน้า ปีที่พิมพ์:2539)
เขียนโดย เกษียร เตชะพีระการแบ่งแยกออกเป็นสองฝ่ายและความขัดแย้งทางการเมืองไทย(จำนวน 12 หน้า ไปปรากฏปีที่พิมพ์ ครั้งแรก ถูกนำมาตีพิมพ์ ครั้งล่าสุดปี 2535)
เขียนโดย เดวิด และซูซาน มอแรลล์
แปล โดย เอกรงค์ รังคประทีป
ความอิหลักอิเหลื่อแห่งชาติ เนื่องมาจาก 6 ตุลา 2519 (จำนวน 24 หน้า ปีที่พิมพ์:2539)
เขียนโดย ธงชัย วินิจจะกูลความรุนแรงและรัฐประหาร 6 ตุลาคม 2519(จำนวน 19 หน้า ปีที่พิมพ์(ครั้งแรก): 2519)
เขียนโดย ป๋วย อึ้งภากรณ์

Inga kommentarer:

Skicka en kommentar